top of page

บทที่ 6 การสื่อสารในชุมชนการ

การสื่อสารของชุมชน

          กระบวนการสื่อสารชุมชนท้องถิ่น ในความหมายที่รับรู้และเข้าใจกันโดยทั่วไป มุ่งเน้นเข้าใจในมิติของการสื่อสาร สาระหนึ่งสาระใด สู่กลุ่มเป้าหมายที่เป็นมวลชนพื้นฐานหรือชุมชนฐานราก ในพื้นที่ชุมชนท้องถิ่น โดยใช้ช่องทางสื่อสารที่เหมาะสม เป็นสำคัญ

1

การสร้างสัมพันธภาพกับชุมชน

  1.1)การพบปะผู้นำ

  1.2)การค้นหาบุคคลในพื้นที่เข้าร่วมเป็นทีมวิจัย

  1.3)การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆในชุมขน

2

การสร้างกระบวนการปรึกษาหารือกับชุมชน

   2.1)การประสานงานกับสมาชิกชุมชน

   2.2)การกำหนดความชัดเจนเกี่ยวกับหน้าที่ของสื่อและบทบาทของบุคคลที่ทำหน้าที่เลือกใช้สื่อ

   2.3)การออกแบบและดำเนินการปรึกษาหารือ

3

การร่วมกันพัฒนา/ปรับปรุงระบบการสื่อสาร

  3.1)การจัดตั้งทีมงาน

  3.2)การเสริมสร้างศักยภาพ

ของทีมงาน

  3.3)การสนับสนุนการปฏิบัติการสื่อสารในพื้นที่

4

การร่วมกันพัฒนาระบบและการดำเนินการประเมินผล

                                      4.1)การประสานงานกับสมาชิกชุมชน

  4.2)การออกแบบกระบวนการ

ขั้นตอนในการปฏิบัติการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในชุมชน

ด้านเทคโนโลยี 

เช่น การที่คุณสมบัติของเทคโนโลยีไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน  และความจำเป็น คุณประโยชน์ของเทคโนโลยีที่มีต่อชุมชน

ด้านเทคโนโลยี 

ด้านสาร 

เช่น ความคุ้นเคยด้านเนื้อหาข่าวสาร

ด้านสาร 

ด้านผู้กำหนดนโยบาย 

เช่น การกำหนดแนวทางในการสนับสนุนให้สื่อสามารถเข้าถึงชุมชน และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างต่อเนื่อง

ด้านผู้กำหนดนโยบาย 

ด้านการเข้าถึงสื่อ 

เช่น ความเหมาะสมของวัน เวลา สถานที่

ด้านการเข้าถึงสื่อ 

ด้านการบริหารจัดการ 

เช่น การกำหนดแผนงาน

ด้านการบริหารจัดการ 

ด้านนโยบาย 

เช่น นโยบายให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมได้อย่างเต็มที่ ทั้งในด้านการบริหารจัดการ และการตัดสินใจเชิงนโยบายที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน

ด้านนโยบาย 

ด้านงบประมาณ 

เช่น การปรับเปลี่ยนต้นทุนด้านเทคโนโลยีการสื่อสารที่มีราคาถูกลง

ด้านงบประมาณ 

ข้อควรคำนึงในการพัฒนากระบวนการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในชุมชน

อ้างอิง
bottom of page